การจัดตั้งบริษัทจำกัดในประเทศไทย
กฏหมายที่ควบคุมการจัดตั้งและการรวมกลุ่มธุรกิจประเภทต่างๆ ของไทยสามารถดูได้จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทย บริษัทเอกชนจัดตั้งขึ้นในกระบวนการที่นำไปสู่การลงทะเบียนของหนังสือบริคณห์สนธิและวางกฎหมายของ บริษัทในแฟ้ม การจัดตั้งบริษัทสามารถดำเนินการได้ภายในไม่กี่สัปดาห์หากมีเอกสารครบถ้วน จากประสบการณ์แสดงให้เห็นว่าการจัดตั้งบริษัทในประเทศไทยเป็กระบวนการที่ไม่เหมือนที่อื่น เพราะทำให้เสียเวลามากขึ้นกว่าที่คาดการณ์ไว้
จดทะเบียนบริษัท
ขั้นตอนแรกคือเลือกชื่อบริษัทที่คุณต้องการใช้ 3 ชื่อ คุณสามารถทำได้ทางหน้าเว็บไซต์ของ DBD (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า) หรือเข้าไปทำด้วยตัวเองที่สำนักงาน เมื่อชื่อไดรับการตอบรับแล้วคุณจะได้รับการยืนยันภายใน 3 วัน
มีบางชื่อที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในประเทศไทย:
- ชื่อที่สามารถเชื่อมโยงกับพระราชวงศ์;
- ชื่อกระทรวงและหน่วยงานรัฐบาล;
- ใช้ได้ เช่น Suwan Sawan (Thailand);
- ชื่อที่คล้ายมากหรือเหมือนกับบริษัทอื่น;
- ชื่อที่ละเมิดศีลธรรมของประชาชน;
- ชื่อที่ทำให้เข้าใจผิด
ชื่อบริษัทที่ได้รับการอนุมัติแล้วสามารถใช้งานได้ 30 วัน คุณต้องรับรองการยอมรับเพื่อดำเนินธุรกิจของคุณต่อไป
หนังสือบริคณห์สนธิ
หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ต้องยื่นต่อนายทะเบียนที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
Department of Business Development และราการที่ต้องใช้มีดังต่อไปนี้:
- หนังสือยืนยันชื่อบริษัท;
- จังหวัดที่บริษัทจะจัดตั้ง
- ธุรกิจของบริษัท;
- งบดุล;
- ชื่อของผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 3 คนต้องมีผู้ถือหุ้นคนไทยมากกว่าต่างชาติเสมอ เช่น ชาวต่างชาติ 2 คน คนไทย 3 คน
ต้องลงนามหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทอย่างน้อย 3 คน ผู้ถือหุ้นจะเป็นทั้งชาวต่างชาติหรือคนไทยก็ได้ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวและประมวลกฎหมายที่ดินห้ามใช้ผู้ถือสัญชาติไทยปลอม หรือชาวต่างชาติ
ทุนบริษัท
บริษัทในประเทศไทยจะต้องมีทุนจดทะเบียนขั้นต่ำ 1 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนจะต้องเพียงพอต่อการดำเนินธุรกิจที่กำหนด เมื่อบริษัทประสงค์ที่จะขอใบอนุญาตทำงานสำหรับชาวต่างชาติ บริษัทจะต้องมีทุนจดทะเบียนอย่างน้อย 2 ล้านบาทต่อใบอนุญาตทำงาน อย่างเช่นใบอนุญาตทำงาน 2 ใบ ต้องมีทุนจดทะเบียน 4 ล้านบาท และใบอนุญาตทำงาน 3 ใบ ต้องมีทุนจดทะเบียน 6 ล้านบาท เป็นต้น
เมื่อมีการกำหนดโครงสร้างการเป็นเจ้าของแล้ว จะมีการเรียกประชุมทางกฎหมายซึ่งหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของบริษัท จะได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการและแต่งตั้งผู้สอบบัญชี
ข้อบังคับของบริษัท
ข้อบังคับของบริษัท เป็นข้อบังคับของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกิจการภายในของบริษัท เช่นสิทธิในการออกเสียงและเรื่องที่กำหนดให้มีการคุ้มครองสิทธิของชาวต่างชาติภายในบริษัท กฏอาจจะเกี่ยวกับเรื่องหุ้นในบริษัท ในระยะหลังหุ้นเหล่านี้สามารถเชื่อมต่อกับหุ้นอื่น ในความหมายอื่นคือคุณต้องซื้อหุ้นบุริมสิทธิโดยการเพิ่มทุนจดทะเบียน
ใบรับรองหุ้น
ในประเทศไทย ผู้ถือหุ้นทุกคนของบริษัทจะต้องได้รับใบรับรองหุ้นในชื่อของเขาจากบริษัท บริษัทต้องจัดให้มีการลงทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ สำนักงานใหญ่ของบริษัท อย่างสม่ำเสมอ ใบหุ้นเป็นทรัพย์สินของบุคคลที่ได้รับการจดทะเบียนเป็นผู้ถือหุ้น ณ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ทุนจดทะเบียนของบริษัทไม่สามารถเปลี่ยนแปลได้ในรูปแบบอื่นใด นอกจากการเปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท
การประชุมตามกฎหมาย
ภายในสามเดือนหลังจากวันประชุมคณะกรรมการตามกฏหมาย จะต้องยื่นคำร้องต่อสำนักงานเพื่อการจัดตั้งบริษัท
ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีบริษัท และภาษีขาย
บริษัทที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นมาใหม่จะต้องเสียภาษีเงินได้ และต้องขอบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีและเลขทะเบียนบริษัทจากกรมสรรพากรภายใน 60 วัน หากคาดว่ารายได้รวมจะเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับรายได้ 1.8 ล้านบาท
บริษัท ที่จัดตั้งใหม่ต้องเก็บบัญชีตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และพระราชบัญญัติการบัญชี เอกสารสามารถจัดทำเป็นภาษาใดก็ได้หากมีสำเนาเป็นภาษาไทย หลังจาก 12 เดือนนับจากวันจดทะเบียนจะต้องจัดทำงบบัญชีรายปี
อัตราภาษีสำหรับบริษัทที่มีทุนชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท ณ สิ้นปีงบประมาณได้รับการกำหนดไว้ที่ 15% จากกำไร 1 ล้านบาท, 25% จากกำไรระหว่าง 1 ล้าน และ 3 ล้านบาท และ 30% จากกำไรที่เกิน 3 ล้านบาท
การจัดการของบริษัทเอกชนในประเทศไทย
บริษัทได้รับการแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นอย่างน้อยหนึ่งคน กรรมการ (ผู้ถือหุ้น) มีส่วนรับผิดชอบ จำกัดเฉพาะข้อต่อไปนี้
- การดำรงอยู่และการรักษาหนังสือและเอกสารที่เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ เป็นไปตามกฎหมาย
- การชำระเงินที่แท้จริงของหุ้นโดยผู้ถือหุ้น
- การแบ่งเงินปันผลให้ถูกต้องตามกฎหมาย
- บันทึกรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและเชิญผู้ถือหุ้นทุกราย
หาก บริษัท ละเว้นการเรียกประชุมและจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จะมีการบังคับเสียค่าธรรมเนียม 20,000 บาท
ทุนบริษัท
บริษัทในประเทศไทยจะต้องมีทุนจดทะเบียนอย่างน้อย 1 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนจะต้องเพียงพอต่อการดำเนินธุรกิจที่คุณได้กำหนดไว้ เมื่อบริษัทประสงค์จะขอใบอนุญาตทำงานสำหรับชาวต่างชาติ บริษัทจะต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 2 ล้าบาทต่อ 1 ใบอนุญาตทำงาน
พนักงานคนไทย
หากต้องการขอใบอนุญาตทำงาน คุณต้องใช้พนักงานที่มีสัญชาติไทยอย่างน้อย 4 คนต่อ 1 ใบขออนุญาตทำงาน อย่างไรก็ตามก็มีข้อยกเว้นสำหรับกฏนี้ซึ่งควบคุมโดยธุรกิจที่จดทะเบียน
ภาษีและเงินสมทบทางสังคม
ในประเทศไทย คุณสามารถจัดตั้งบริษัทจำกัดโดยจดภาษีหรือไม่จดก็ได้ หากคุณรู้ว่ากำไรของบริษัทไม่ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี คุณสามารถจัดตั้งบริษัทโดยไม่ต้องจดภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ในกรณีดังกล่าวคุณเพียงต้องส่งการคืนภาษีปีละครั้ง บริษัทที่จดภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องยื่นแบบภาษีเดือนละครั้ง นอกจากนี้บริษัทยังต้องจ่ายเงินสมทบให้กับพนักงานไทยเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน และต้องสามารถพิสูจน์ได้ บางครั้งเงินสมทบนี้อาจต้องใช้เวลานานกว่าหนึ่งเดือน นี่เป็นเรื่องสำคัญเมื่อต้องการขอใบอนุญาตทำงาน